บทความ

การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2

  การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 Creator Name:   พงษ์พิพัฒน์ พิมปัดชา Address:  มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร Subject keyword:  ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง Classification :.DDC:   วจ 370.1593 พ12ก ;   การพัฒนารูปแบบ ;   นวัตกรรมการศึกษา Description Abstract:  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง ของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 และ 2) ตรวจสอบรูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 โดยวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง ระยะที่ 2 การตรวจสอบรูปแบบภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลงของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม Publisher มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโล

พฤติกรรมการบริหารตามหลักพรหมวิหาร 4ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 ในจังหวัดพังงา

  พฤติกรรมการบริหารตามหลักพรหมวิหาร 4ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 ในจังหวัดพังงา Title Alternative Administration Behavior as Four Sublime States of Mind of Administrators as the Opinions of Teachers under Secondary Educational Service Area Office 14 in Phangnga Province Creator Name:   วีณา คำคุ้ม Subject keyword:  พรหมวิหาร 4 ThaSH:   ผู้บริหารโรงเรียน  --  จริยธรรม ;   ผู้บริหารสถานศึกษา Description Abstract:  จากปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาส่วนหนึ่งที่มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ของสถานศึกษาโดยรวม การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหาร ตามหลักพรหมวิหาร 4 และศึกษาแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการบริหารตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14 ในจังหวัดพังงา ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 479 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางเทียบขนาดของเครจซี่ และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 214 คน โด
รูปภาพ
 
รูปภาพ
 

การพัฒนาการบริหารตามกระบวนการบริหารและทักษะการบริหารของผู้บริหารระดับต้นในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

  บทคัดย่อ                 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารตามกระบวนการบริหารของผู้บริหารระดับต้นในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) ระดับทักษะการของผู้บริหารระดับต้นในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed methods Research) แบ่งเป็น 2 ส่วน  ส่วนที่ 1 การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative)  ประชากร คือ ผู้บริหารระดับต้นในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 1,285 คนโดยใช้แบบสอบถามแบบขีดขนาด (Rating Scale) 5 ระดับ เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 310 คน ที่ได้จากการเลือกตัวอย่างโดยแบ่งประชากรที่จะศึกษาเป็นกลุ่ม ๆ (Stratified Random Sampling) แล้วทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีการถดถอยพหุคูณ  ส่วนที่ 2 การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative)โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) คือ ผู้บริหารระดับต้นในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวน  10 คน ด้วยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจงและใช้การวิเคราะห์เนื้

การติดตามประเมินผลนโยบายการสอนศีลธรรม จริยธรรม โดยพระภิกษุ สามเณร ในสถานศึกษา

  บทคัดย่อ (Abstract) ในการติดตามประเมินผลนโยบายการสอน ศีลธรรม จริยธรรมโดยพระภิกษุ สามเณร ในสถานศึกษา เป็นการรวบรวมข้อมูลการดำเนินงานของสถานศึกษาในด้านครูพระสอนศีลธรรม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อติดตามผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบายให้พระภิกษุ สามเณร เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนศีลธรรม หรือการสอนจริยธรรม ในสถานศึกษา ว่าจะมีผลดีอย่างไรบ้างต่อผู้เรียน โดยจะศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการวิจัยเชิงประเมินผล และใช้รูปแบบการวิจัยแบบสำรวจ นอกจากนี้ ยังเป็นการค้นหารูปแบบที่ดี (Best Practice) ของการสอนศีลธรรมโดยครูพระในสถานศึกษา เพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ที่จะช่วยให้การดำเนินงานตามนโยบายส่งเสริมพระภิกษุ สามเณร เข้ามาจัดการเรียนการสอนศีลธรรม หรือการสอนจริยธรรม ในสถานศึกษาด้วย โดยใช้วิธีการถอดบทเรียน (Lesson learned) วิธีการศึกษามี 3 ขั้นตอน คือ การติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการครูพระสอนศีลธรรม โดยการศึกษาในเชิงคุณภาพ (Qualitative research) การศึกษาเปรียบเทียบผลการสอนระหว่างกลุ่มที่เรียน (ศีลธรรม จริยธรรม) กับครูพระ และกลุ่มที่เรียนกับครูทั่วไป และการศึกษาในขั้นตอนสุดท้ายเ

การประเมินสมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา

การประเมินสมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา Title Alternative Instructional Leadership Competency Assessment for Principals Creator Name:   ชัชรินทร์ ชวนวัน Subject keyword:  สมรรถนะ, สมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการ, ผู้บริหารสถานศึกษา, การประเมินสมรรถนะ ThaSH:   สมรรถนะ Description Abstract:  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) โมเดลสมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา (2) การพัฒนาเครื่องมือประเมินความต้องการฝึกอบรมสมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา และ (3) การประเมินสมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาปี 2554 จำนวนทั้งหมด 40 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) สมรรถนะภาวะผู้นำทางวิชาการผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วยสมรรถนะหลัก 5 ด้าน คือ ด้านนำการเปลี่ยนแปลง,ด้านนำทางวิชาการ,ด้านนำการบริหารสถานศึกษา,ด้านนำแบบมีส่วน